วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่8

บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิ่น
วันพุธ ที่ 4 มีนาคม 2558
ครั้งที่8 เวลา 08.30-12.20 น.



ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันมาฆบูชา



บันทึกอนุทินครั้งที่7

บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิ่น
วันพุธ ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558

ครั้งที่ 7 เวลา 08.30-12.20 น.



วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสอบกลางภาค  ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2558

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



- เนื่องจากวันนี้เป็นการสอบวิชาการจักการในห้องเรียน เป็นบรรยากาศที่ทั้งตื้นเต้น ทั้งตรึงเครียดมาก"ที่อ่านไม่ออก ที่ออกไม่จำ " ข้อสอบของอาจารย์ซึ่งเป็นข้อสอบที่ซึ่งกวนประสาทหนูมาก ซึ่งทำข้อสอบไปสักพัก แฮร่ๆๆ หนูร้องให้หนักมากๆๆ >< 

บันทึกอนุทินครั้งที่6

บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิ่น
วันพุธ ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2558

ครั้งที่ 6 เวลา 08.30-12.20 น.

ความรู้ที่ได้รับ

       ก่อนเข้าสู่บทเรียน อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทำกิจกรรม  "เกมรถไฟแห่งชีวิต" ซึ่งเป็นเกมเชิงจิตวิทยา  อาจารย์ให้นักศึกษาดูภาพและให้ตอบคำถามที่เป็นจิงที่สุด 


กิจกรรม "รถไฟแห่งชีวิต "


คำถาม

ตอบ . รอประมาณครึ่งชั่วโมง ถ้ายังไม่ถึงคิวก็ไปเล่นเครื่องเล่นอื่นก่อนแล้วกลับมาเล่นใหม่


ตอบ . ตื่นเต้น ใจไม่อยู่กับเนื้อกับตัว


ตอบ . เอ้า I เชี้ย แต่ก็เย็นสบายยย


ตอบ .ทำไมต้องมาหยุดที่เราด้วย 



ภาพวาดเส้นทางของรถไฟของฉัน



เริ่มเข้าสู่บทเรียน ในวันนี้ เรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะทางสังคม

ทักษะทางสังคม  เป็นทักษะที่กว้างและใหญ่มาก 
- เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อแม่ 
- การที่เด็กอย่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆที่ดีและมีความสุข

*** ( ทักษะนี้เด็กพิเศษจะขาดมาก จะต้องส่งเสริมจากตัวเด็กเลย )

กิจกรรมการเล่น

 การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม 
-  เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่น
นอกจากนี้กิจกรรมการเล่นยังจะช่วยส่งเสริมเด็กพิเศษได้ดี เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ ในช่วงแรกๆ เด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน แต่เป็นอะไรบางอบ่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลัก ดึง



การกระตุ้นการเรียนแบบและการเอาอย่าง

- ครูวางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง และต้องคำนึงถึงเด็กทุกคนว่า กิจกรรมนั้นเด็กสามารถทำได้ หรือยากจนเกินไป และให้เด็กเล่น 2-4 คน
- คำนึงถึงเด็กทุกคน
- ครูมีหน้าที่ให้แรงเสริม โดยการชมเด็กตั้งแต่เด็กเริ่มทำ เช่น ยิ้ม ชม  ยืนอยู่ใกล้ๆเด็ก
- ครูควรให้เด็กทำกิจกรรมเสร็จก่อน ไม่ควรคิดไปเองว่าเด็กกำลังทำอะไรอยู่

*** ( เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน "ครู" ให้กับเด็กพิเศษ)

ครูปฎิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น

- ครูควรอยู่ใกล้เด็กๆและเฝ้ามองเด็กอย่างใส่ใจและสนใจ
- ยิ้มและพยักหน้าให้เมื่อเด็กหันมาหาครู
- ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกนไป
- เอาวัสดุอุปกรณืมาเพิ่ม เพื่อเป็นการยืดเวลาเด็กในการเล่น
- ให้ความคิดเห็นเด็กเป็นแรงเสริม

การให้แรงเสริม

-  ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน ทำโดย การพูดนำของครู
- ให้เพื่อนๆมาเล่นกับเด็กด้วย
- ครูพาเด็กไปเล่นกับกลุ่มเพื่อน โดยครูจะจัดหาอุปกรณการเล่นไปด้วยเพื่อเพื่อนจะเล่นกับน้องและยอมรับน้องให้น้องเข้าร่วมกลุ่มเล่นด้วย


ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฎเกณฑ์

-  ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
- การให้โอกาศด็ก
- ให้เด็กได้เรียนรู้การรอค่อย
- ครูไม่ใช่ควมบกพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง
- เด็กพิเศษสต้องเรียนรูีสิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้องเรียน
- เด็กทุกคนมีสถานะภาพเท่าเทียมกันในห้องเรียนรวม

กิจกรรมท้ายชั่วโมง คือ กิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษด้วยเพลง (ขีดเส้น- เติมจุดตามเพลง)
 
   - กิจกรรมบำบักเด็กพิเศษ อาจารย์ให้นักศึกษาจับคู่การทำกิจกรรมโดยอีกคนเป็นคนลากเส้น ส่วนอีกคนเป็นคนเติมจุด โดยให้นักศึกษาทำกิจกรรมโดยการผ่านเพลงจนจบ เมื่อจบเพลงให้นักศึกษาหยุดทำกิจกรรมทันที


อุปกรณที่ใช้ในการทำกิจจกรรมบำบัดเด็กพิเศษโดยผ่านเสียงเพลง


ขีดเส้น-เติมจุด ผ่านเสียงเพลง

   - หลังจากเมื่อทำกิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษโดยผ่านเสียงเพลงเสร็จเรียบร้อยแล้ว อาจารย์ได้ให้นักศึกษามองภาพวาดที่เราขีดเส้น-เติมจุด  หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานของตนเองตามจินตยาการ

ชื่อผลงาน...ช้างน้อย


    - หลังจากทำกิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษเรียบร้อยแล้ว อจารย์ได้ให้นักศึกษาตอบคำถาม 5 ข้องจากที่เรียนมาในชั่วโมง และอาจารย์ให้การบ้าน...คือให้นักศึกษาไปฝึกหัดร้องเพลง 


การนำความรู้ไปใช้

- ทำให้รู้ถึงการส่งเสริมทักษะต่างๆ ของเด็กพิเศษว่าครูควรส่งเสริมด้วยวิธีใดที่ถูกต้องและเหมาะสม และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดการเีรยนการสอนเด็กในอนาคตได้อีกด้วย
- ได้รู้ถึงการใช้คำพูดที่ชักขวนเด็กให้เข้าร่วมทำกิจกรรมและวิธีการต่างที่สำคัญที่สามารถใช้กับเด็กพิเศษได้เป็นอย่างดี
- ได้เรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมบำบัดเด็กพิเศษ และสามรถนำไปให้กับเด็กในนอยาตคได้อีกด้วย
-ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเด็กกับพิเศษมากมายและเทคนิคต่างๆสำหรับเด็กพิเศษ ว่าเมื่อเราจบไปเป็นครูเราควรมีบทบาทและหน้าที่อย่างไร? เราควรวางตัวอย่างไรบ้าง? 

การประเมิน

ประเมินตนเอง  มาเรียนก่อนเวลาเรียน ช่วยเพื่อยจัดโต๊ะห้องเรียนให้เป็นตัวยู แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอจารยสอนและทำกิจกรรม และมีการจดบันทึกเพิ่มเติมที่อาจารย์เล่าประสบการณืหรือนอกเนื่องขากซีดที่อาจารย์ให้ และช่วยเพื่อนตอบคำถามกิจกรรมตอบคำถามหลังเรียน

ประเมินเพื่อน เพื่อนแต่งการเรียบร้อย  เพื่อนส่วนมากมาเรียนตรงเวลา และตั้งใจอาจารย์สอนและตั้งใจทำกิจกรรมมากๆ เพื่อนทุกคนมีส่วยร่วมในการตอบกันถามกันทุกคน ไม่ว่าพี่ภาคสมทบและภาคปกติ ก็เรียนรู้กันอย่างเป็นกันเองมาก 

ประเมินอาจารย์  อาจารย์มาสอนตรางเวลา แต่งการสุภาพเรียบร้องสีอ่อนหวาน มีเทคนิกการสอนที่มากมาย ทำให้นักศึกษาไม่เบื่อหน่ายกับการมาเรียนวิชานี้ มีทั้งกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรีบย สนุกมากๆๆ และระหว่างเรียนเนื้อหา ก็มีประสบการณืเดิมของอาจารย์ต่างๆนาๆมาเล่าให้นักศึกษาทำให้นักศึกษาได้เห็ยภาพชัดและเข้าใจง่ายกว่าตัวหนังสือที่อยู่ในซีด และมีกืจกรรมท้ายชั่วโมงเป็นกิจกรรมที่ได้ประโชยน์มากมาย ทำให้เข้าใจเด็กพิเศษมากขึ้น