บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ.ตฤณ แจ่มถิ่น
วันพุธ ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558
ครั้งที่ 5 เวลา 08.30-12.20
น.
- ต้นชั่วโมงอาจสรย์ได้ให้นักศึกษาใส่ถุงมือข้างที่ไม่ถนัดแล้วให้นักศึกษาวาดรูปมือตวเองพร้อมรายละเอียดของนิ้วมือตัวเอง
- จากการทำกิจจกรรมเป็นการสื่อถึงการสังเกตุพฤติกรรมของเด็ก การสังเกตพฤตรรมของเด็กต้องบันทึกอย่างสม่ำเสมอ และเก็บรายละเอียดของเด็กให้มากที่สุดและตามความเป็นจริง ครูอย่าละเลยการบันทึกพฤติกรรมของเด้ก และไม่ใส่ความรู้สึกตัวตัวลงไป
เริ่มเข้าสู่บทเรียน เรื่องการสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ
ทักษะของครูและทัศนคติ-ต้องมองเด็กในห้องเรียนให้เป็นเด็ก ไม่ควรแบ่งแยกน้อง
-สายตาของครูมองเด็กในห้องให้เหมือยกันทุกคน เพราะเด็กจะสัมผัสสายของของครูได้
การเข้าใจภาวะปกติ
-เด็กจะเหมือนหรือคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่างกัน
-ครูต้องจำชื่อเด็กให้ได้ทุกคน เช่น ชื่อจริง ชื่อเล่น
การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
-มองเด็กให้ออก มองเด็กให้เป็นเด็กและไม่ควารแสดงออกควรเก็บไว้ในใจ และไม่ควรชะงักที่เด็กเป็นเวลา เพราะเด็กจะรู้ตัว อย่าให้เด็กรู้สึกว่า แบ่งแยก
ความพร้อมของเด็ก
-วุฒิภาวะ เด็กแต่ละคนจะแตต่างกันออกไป
-แรงจูงใจ เด็กแต่ละคนจะมีแรงจูงใจที่แตกต่างกัน
-โอกาศ เด็กแต่ละคนควรได้รับโอกาศที่เท่าๆกัน
*ห้องเรียนรวมควรมีขีดจำกัดให้น้อยที่สุด
*เด็กพิเศษจะรับรู้เรื่องที่ครูสอนน้อยกว่าเด็กปกติ
การสอนโดยบังเอิญ
-ระหว่างตอนทำกิจกรรมและเด้กได้รับความรู้พอดี
-เด็กวิ่งเข้ามาหาครู เช่น มาขอความช่วยเหลือ
-ครูพร้อมที่จะพบเด็ก
-ครูต้องมีความสนใจเด็ก
-ครูมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
อุปกรณ์
-สื่อที่ไม่แบ่งแยกประเภท เช่น ตุ๊กตา หุ่นยนต์
-สื่อที่ไม่ตายตัว เช่น บล้อก
-เป็นสื่อที่เล่นได้หลากหลาย
ตารางประจำวัน
-จรารงสำหรับเด็กพิเศษ ต้องไม่เปลี่ยนแปลง คงที จะทำให้เด็กมั่นใจ
ทัศนคติของครู
-ความหยืดยุ่นให้เป็น
-ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่
-ตอบสนองด้วยวาจา เช่น การชมเชย
-การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
-พยักหน้า ยิ้ม ฟัง
-สัมผังกาย
-ให้ความร่วมมือ ร่วมกิจกรรม
หลักการให้แรงจูงเสริมเด็กปฐมวัย
-ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมที่ดี และแสดงออก
การแนะนำหรือบอกบท
-ย่อยงานให้เด็ก
-ลำดับความยากง่าย
การกำหนดเวลา
-ให้พอดี อย่ายาวเกินไม่ อย่าโม้เยอะ
ความต่อเนื่อง
สอนแบบก้าวไปข้างหน้า หรือย้อนมาจากข้างหลัง เช่นการสอนเด็กเรื่องการผูกเชือกรองเท้า การสอนกว้าวไปข้างหน้าคือสอนเรียงลำดับ การสอนย้อนไปข้างหลังคือสอนน้องจากลำดับสุดท้ายหรือไม่สอนตามลำดับ
การลดหรือหยุดแรงเสริม
-ครูจะงดแรงเสริมกับเด็กที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
*ครูต้องมีความคงเส้นและคงวา
หลังจากเรียน เรื่องการสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ อาจารย์ได้ให้นักศึกษาตอบคำถามจากที่เรียนมา
ท้ายชั่วโมง อาจารยืได้ให้นักศึกษาร้องเพลงฝึกกายบริหาร และอาจารย์ได้นักศึกษาร้องเพลงผลไม้ เพลงกินผักกัน เพลงดอกไม้ เพลงจ้ำจี้ดอกไม้ ผู้แต่ง อ.ศรีนวล รัตนสุวรรณ เรียบเรียง อ.ตฤณ แจ่มถิ่น
การนำความรู้ไปใช้
- จากความรู้ที่ได้รับวันนี้ สามรถนำไปใช้ตอนเราฝึกสอนหรือเป็นครูในอนาคตได้เป็นอย่างดี ทำให้รู้เกี่ยวกับบทบาทของครูและการวางตัวที่เหมาะสม
การประเมิน
ประเมินตนเอง มาเรียนตรงเวลา ช่วยจัดห้องเรียนให้เป็นตัวยูพร้องที่จะเรียน และตั้ใจทำกิจกรรมที่อาจารย์มอบหมายและตั้งใจฟังอาจารย์สอนและมีการจดบันทึกเพิ่ใเติม แต่ฃ่วงปลายคาบอาจารย์มีคุยบ้างเล็กน้อยและมีง่วงบ้านตอยท้ายชั่วโมง
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์มอบหมาเป็อย่างดี และตั้งใจฟังอาจารย์สอน และร่วมการตอบคำถามและมีการจดบันทึกเพิ่มเติม
ประเมิณอาจารย์ อาจารย์แต่งกายสุภาพเรียบร้อยสีฟ้าอ่อนหวาน มาสอนก่อนเวลามารอนั่งศึกษาและ อาจารย์มีกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน และมีเทคนิคมากมายในการสอน พร้อมยกตัวอย่างเล่าเรื่องประสบการณ์จริง ทำให้นักศึกษาเข้าใจและเห็นภาพได้มากยิ่งขึ้น อาจารยืค่อยจะถามนักศึกษาตลอดว่าเข้าใจใหม? อจารย์จะค่อยย้ำอยู่ตลอด อาจารย์มีความใส่ใจนักศึกษาในการเรียนมาก